Cari
Produk
Komunitas
Pasar
Berita
Broker
Lebih lanjut
ID
Obral Cyber Monday
DISKON hingga 70%
Komunitas
/
Ide-Ide
/
Case Study ; MPL & QM Pattern & Fakeout
Pound Inggris / Franc Swiss
Edukasi
Case Study ; MPL & QM Pattern & Fakeout
Oleh GMomentumFX-Thailand
Ikuti
Ikuti
26 Nov 2022
5
26 Nov 2022
Case Study ; MPL & QM Pattern & Fakeout
📊 รูปแบบ Type : SELL SETUP
****************************
⛔️ คำเตือน : เป็นเพียงเนื้อหาสำหรับกรณีศึกษาเท่านั้น ทั้งหมดล้วนต้องใช้เวลาและประสบการณ์จริงของแต่ละท่านเพื่อนำไปใช้ประโยชน์อย่าสูงสุด โปรดใช้วิจารณญาณในการรับข้อมูล
****************************
● MPL หรือชื่อเต็ม Maximum Pain Level
● MPL ตามตัวอย่างหรือโครงสร้างในภาพนั้น จริงๆ แล้วก็เป็นหนึ่งในรูปแบบของ Supply and Demand Zone ( SND ) ซึ่งรูปแบบของ MPL ในภาพนั้น ก็เป็นรูปแบบที่ก่อเกิดขึ้นในโครงสร้างของ QM Pattern(QML) ด้วยเช่นกัน จึงทำให้น่าสนใจ
● ทั้ง QML และ MPL ก็นับว่า เป็นรูปแบบหนึ่งของ SND เช่นกัน และมักจะมีรูปแบบเส้น SNR (QML) หรือ SND ZONE ที่เกิดการทับซ้อนกันอยู่ จึงมีนัยะและความน่าสนใจที่มากขึ้น
● MPL ที่ผมมองว่าเป็น RBD ตามในภาพ เนื่องจากว่า การเคลื่อนที่ของกลุ่ม Base Balance Zone หรือ Sideway เล็กๆ นั้น อาจจะก่อเกิดแนวต้านเล็กๆ หรือ Resistance Fakeout หรือเกิดเป็น Mini QM เล็กๆ ก่อนก็เป็นได้ และหลังจากนั้นราคาอาจจะตีทะลุกรอบขึ้นไป เหนือระดับ QML ซึ่งช่วงนี้จะเกิดการพุ่งของ IMB ขึ้นไปเล็กน้อยคือ Rally(R) และพักฐาน Base(B) และจากนั้นเกิดแรงขาย Drop(D) ลงมา ซึ่งหลังจากการ Drop ลงมานี้ จะเกิดแท่งเทียนกลืนกิน Bearish Engulfing ก็เป็นได้
● ณ โซน MPL ( RBD ) ในโซนนี้นั่นเองที่จิตวิทยานักเทรดส่วนใหญ่จะเห็นพ้องต้องกันว่ามีโอกาสเข้า Sell ได้ จึงนับเป็นโซนที่ใช้ตัดสินใจเข้าที่ MPL & QML (Decision Point = DP)
***************************
✅ วิธีการเข้าออเดอร์
● เมื่อตลาดเกิดโครงสร้าง QM Pattern แสดงถึงการอ่อนกำลังขาขึ้น Loss Momentum Up กำลังส่งจะเริ่มลดลง และมีโอกาสเกิด Momentum กลับทิศลง ดังนั้นเมื่อเจอโครงสร้างนี้ ให้สังเกตุหาเส้น SNR Key Level ก็คือ QML (Left Shoulder)
● ตีกรอบครอบโซนของ QML ด้วยก็ได้/หรือจะละไว้ในฐานที่เข้าใจก็ได้ เพราะเรามอง QML เป็นเส้นหลักแล้ว และจากนั้นจะต้องมองหา Base ที่เกิดตรงข้ามกับ QML ZONE นั่นก็คือ MPL เนื่องจากตรงนี้ หากว่าตลาดเกิดแรง Drop ลงมาจริงๆ ตามภาพตัวอย่าง จะเป็น MPL Supply Zone ที่น่าสนใจมาก เนื่องจากกลืนกินแรงซื้อ Clean up Significant Demand ได้และหากราคาทำ Lower Low ด้วยการทำลายโครงสร้าง BMS (Break Market Structure) ได้อีก จะยิ่งมีนัยะและบ่งบอกถึง Momentum Down ที่แข็งแกร่ง ในด้านกลับทิศลง ก็ให้ตีกรอบครอบ SND ZONE ของ MPL ได้เลย
● ตั้งออเดอร์ Sell Limit (Pending Order) ที่ระดับ MPL Supply Zone
● SL ตั้งเหนือ Swing Higher High(HH)
● TP แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ TP1 ตั้งที่ระดับ Swing Low ของไหล่ซ้าย หรือแนวรับไหล่ซ้ายของ QML และ TP2 ตั้งที่ระดับ Swing Lower Low ของโครงสร้างหลัก QM Pattern ซึ่งเป็นขา Swing Under (HL -> LL) ของรูปแบบ QM
*******************************
⚠️ MM บริหารเงินทุนต่อแผนยอมแพ้ไม่เกิน DD 2-5% และทุกแผนต้องทำ Position Sizing เสมอ
Chart Patterns
Trend Analysis
Wave Analysis
GMomentumFX-Thailand
Ikuti
Juga di:
Pernyataan Penyangkalan
Informasi dan publikasi tidak dimaksudkan untuk menjadi, dan bukan merupakan saran keuangan, investasi, perdagangan, atau rekomendasi lainnya yang diberikan atau didukung oleh TradingView. Baca selengkapnya di
Persyaratan Penggunaan
.